ความรู้ด้านจิตวิทยา สำคัญกับการทำงานอย่างไร
ปัจจุบัน การศึกษาด้านจิตวิทยา ถูกนำมาเป็นหลักสูตรเสริมสำหรับคนทำงาน เรียกว่า “จิตวิทยากับการทำงาน” เพราะการศึกษาด้านจิตวิทยา มีเป้าหมายเพื่อศึกษาธรรมชาติของคน
แท็ก
ปัจจุบัน การศึกษาด้านจิตวิทยา ถูกนำมาเป็นหลักสูตรเสริมสำหรับคนทำงาน เรียกว่า “จิตวิทยากับการทำงาน” เพราะการศึกษาด้านจิตวิทยา มีเป้าหมายเพื่อศึกษาธรรมชาติของคน
ในการทำงาน เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเจอกับความเครียดและความกดดันจากสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ดังนั้น เราก็ควรมีทักษะในการจัดการกับอารมณ์ หรือที่เรียกว่า EQ
ไลฟ์สไตล์การทำงานของคนปัจจุบัน ล้วนแล้วแต่มีเป้าหมายเพื่อความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย เพราะนี่เหมือนเป็นดัชนีชี้วัดความประสบความสำเร็จในชีวิต
หลายคนเริ่มคิดทบทวนในใจแล้วว่าในรอบปีที่ผ่านมาไปทำร้ายจิตใจใครทั้งแบบตั้งใจและไม่ตั้งใจบ้างหรือเปล่า โดยเฉพาะกับคนที่นั่งทำงานในออฟฟิศเดียวกัน เคยสังเกตไหมว่าภายใต้รอยยิ้มที่เขายิ้มให้ทุกเช้า เขากำลังฝืน หรือมันแฝงด้วยแววตารังเกียจหรือเปล่า
ในโลกดิจิทัลที่เราอยู่กันนั้น การที่คุณจะมีความรู้เรื่องเทคโนโลยีอาจจะไม่ใช่ความพิเศษ แต่เป็น “ความจำเป็น” แทนไปแล้ว เพราะไม่ว่าจะเป็นเรื่องง่าย ๆ แค่ถ่ายเอกสาร พิมพ์หรือบริหารอีเมล ไปจนถึงการบริหารบัญชีสังคมออนไลน์ของบริษัท
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการทำงาน “Connection” หรือ “เครือข่าย” เป็นสิ่งจำเป็นมาก เพราะการจะพัฒนาความก้าวหน้าอย่างมืออาชีพ แค่พึ่งตัวเองอาจไม่พอ
ความเครียด มักจะมาพร้อมกับการทำงานเสมอ ส่วนใหญ่มาจากการที่คุณคาดหวังในสิ่งที่เกินกำลังของตนเอง จนกดดันตัวเองเกินไป หรือคือการที่คุณไม่เคยกำหนดขอบเขตในการทำงานของตนเอง
ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตาม ย่อมมีอุปสรรคเกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา แต่ส่วนใหญ่แล้วอุปสรรคที่ใหญ่และเป็นปัญหาที่สุดก็คือ “ตัวเราเอง” นี่แหละ แบบที่เรามักจะแก้ปัญหาให้คนอื่นได้ แต่ปัญหาตัวเองกลับคิดไม่ตก ความว้าวุ่นกังวลใจก็เลยตามมา
หากคุณกำลังมองหาตัวช่วยให้การทำงานให้ดีขึ้นในทุกๆ ด้าน ลองใช้กุญแจสำคัญอย่าง วิชาวางแผนการทำงาน ดูสิ
การจะเลือกรับคนเข้ามาทำงานภายในองค์กร นอกจากจะพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้นแล้ว ยังจะต้องดูที่มุมมองและทัศนคติอื่น ๆ ประกอบด้วย
Sanook Campus เราก็เลยรวบรวม ศัพท์ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการทำงาน มาให้เพื่อนๆ ได้ศึกษากันซะหน่อย ว่าคำที่เราอาจจะได้ยินบ่อยๆ นั้นแปลว่าอะไรกันนะ
"เพื่อนร่วมงานยอดแย่" 9 ประเภท ซึ่งถ้าจะอยู่ให้เป็น รอดพ้นจากปากเหยี่ยวปากกานี้ได้ ก็ต้องรับมือคนเหล่านี้ให้ได้
EQ หรือ ความฉลาดทางอารมณ์ เป็นความสามารถในการจัดการอารมณ์ของตนเอง และยังรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่นอีกด้วย
การทำงานใด ๆ ก็ตามให้ได้ประสิทธิผล และมาพร้อมกับประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องบริหารจัดการงานนั้น ๆ อย่างชาญฉลาด หรือที่เรียกกันว่า Work Smart
เนื่องจากชีวิตการทำงานของเรานั้น เราทำงานอย่างน้อย 5 วัน/สัปดาห์ และอย่างน้อย 8 ชั่วโมง/วัน นั่นหมายความว่า คุณใช้เวลาอยู่กับเพื่อนร่วมงานถึง 1 ใน 3 ของเวลาทั้งหมด!
สังคมการทำงาน มีคนหลายวัยที่ต้องทำงานร่วมกัน ซึ่งวัยที่แตกต่างกันมีส่วนก่อให้เกิดความขัดแย้งได้บ่อยครั้ง จึงปฏิเสธไม่ได้เลยว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเป็นไปในลักษณะ “ความแตกต่างของช่วงวัย”
ทุกวันนี้ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI เข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้หลายอาชีพต้องตกงาน เพราะ AI สามารถทำได้ดีกว่าโดยไม่จำเป็นต้องพึ่งมนุษย์อีกต่อไป
ชีวิตของหนุ่มสาวออฟฟิศที่ต้องอยู่กับการทำงานทุกวัน บางครั้งก็อดไม่ได้ที่จะรู้สึกเบื่อ หรือไม่อยากทำงานกันบ้าง แต่จะทำอย่างไรให้ความรู้สึกเหล่านี้หายไป
คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ในบางครั้งที่เราได้รับมอบหมายให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งจากเจ้านาย อาจมีบางคนที่รู้สึกว่างานดังกล่าวไม่คู่ควรกับเรา พร้อมอ้างเหตุผลต่างๆ นานาว่า เราเด็กเกินไป หรือด้อยประสบการณ์
เมื่อเลี่ยงไม่ได้กับการเจอเพื่อนร่วมงานยอดแย่ หรือคนที่เราไม่ชอบขี้หน้า ควรจะมีวิธีรับมืออย่างไร เพื่อให้การทำงานในแต่ละวันไม่น่าเบื่อจนเกินไปนัก